บทความ

อาชีพในฝัน (ครู)

รูปภาพ
อาชีพครู ลักษณะของอาชีพครู           คุณลักษณะของครูตามอุดมคตินั้นมีมากมาย แต่ที่สำคัญที่สุดประการหนึ่ง คือ ความเป็นกัลยาณมิตร ซึ่งต้องมีกัลยาณมิตรธรรม ๗ ประการ แต่คุณสมบัติของครูดังกล่าวเป็นคุณสมบัติที่ได้จากคำสอนในพระพุทธศาสนา และมีความสอดคล้องกับความรู้สึกของคนไทยเรา ดังนั้น เพื่อให้นักศึกษา ครู และอาจารย์ทั่วไป ได้ทราบแนวความคิดของชาวตะวันตกที่มีต่อคุณลักษณะของครูตามอุดมคติว่า มีคุณลักษณะอย่างไรบ้างในที่นี้จึงขอนำความคิดเห็นของ เฮลซอง และ วีคส์ ( Hessong and Weeks, 1987:457-463 ) ที่มีความเห็นว่าครูในอุดมคตินั้นควรมีคุณลักษณะดังต่อไปนี้   1. มีความรอบรู้                                                         ( being knowledgeable )      2. มีอารมณ์ขั...

รีวิวสถานที่ท่องเที่ยวในช่วงปีใหม่ [น้ำตาสาริกา]

รูปภาพ
น้ำตกสาริกา จังหวัดนครนายก ++          น้ำตกสาลิกา จังหวัดนครนายก เป็นน้ำตกในเขตอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ตั้งอยู่ที่ตำบลสาริกา เดินทางจากตัว   เมืองไปตามทางหลวงหมายเลข 3049 เป็นระยะทาง 12กิโลเมตร แล้วแยกซ้ายเข้าทางหลวงหมายเลข 3050 อีก 3 กิโลเมตร เป็นทางลาดยางตลอดสาย น้ำตกสาริกาเป็นน้ำตกขนาดใหญ่สายน้ำไหลตกจากหน้าผาเป็นทอด ๆ ถึง 9 ชั้น ผาที่สูงที่สุดประมาณ 200 เมตร แต่ละชั้นมีอ่างรับน้ำและมีน้ำมากในฤดูฝน ส่วนฤดูแล้งน้ำแห้ง บริเวณด้านล่างของน้ำตกมีบริการห้องอาบน้ำ ร้านอาหาร ร้านขายของที่ระลึก           น้ำตกสาริกา หรือ ตาดสาริกา เป็นน้ำตกที่มีชื่อเสียงและสวยงามอีกแห่งหนึ่งของจังหวัดนครนายกเกิดจากห้วย สาริกาซึ่งไหลมาจากเขาสาริกา และเนื่องจากห้วยสาริกาเป็นห้วยสั้นๆ อยู่ใกล้กับต้นน้ำของมัน จึงทำให้น้ำตกแห่งนี้มีน้ำไหลมากเฉพาะฤดูฝนเท่านั้นลักษณะของน้ำตกแห่งนี้คือเป็นน้ำตกที่ไหลมาจากหน้าผาสูงมีสายน้ำตกเป็นฟองกระจายขาวน่าดู และบริเวณแอ่งน้ำของน้ำตกเป็นแอ่งใหญ่มีน้ำขังอยู่มากและลึกพอที่จะลงไปเล่นน้...

บทนำ

รูปภาพ
บทนำ ภาษาจีนแต้จิ๋ว ภาษาแต้จิ๋ว ( 潮州 ) เป็นหนึ่งในตระกูล ภาษาจีน หมิ่น-หนาน จัดเป็นหนึ่งในตระกูลภาษาของฮกเกี้ยน และ เป็นหนึ่งในภาษาที่พูดกันในภูมิภาคของ จีน คำว่าแต้จิ๋วในภาษาอังกฤษจะใช้คำว่า Teochew (Diojiu, Teochiu, Tiuchiu, Teochew เขียนสะกดหลากหลาย) หรือ Chaozhou ( เฉาโจว อ่านตามภาษาจีนกลาง) ภาษาแต้จิ๋วมีชื่อเรียกในประเทศจีนแตกต่างกันหลายอย่างเดิมนิยมเรียกว่า เตี่ยจิวอ่วย หรือ เฉาซ่านฮว่า (ภาษาจีนกลาง) หมายถึงภาษาพูดถิ่นแต้จิ๋ว ต่อมาเมื่อ เมืองซัวเถา เจริญรุ่งเรื่องขึ้นเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจและการเมืองแทน เมืองแต้จิ๋ว คนต่างถิ่นจึงนิยมเรียกภาษานี้ว่า ซ่านโถวฮว่า หรือ ซัวเถาอ่วย ในภาษาแต้จิ๋ว หมายถึงภาษาพูดถิ่นซัวเถา ต่อมานิยมเรียกว่า เฉาซ่านฮว่า (เตี่ยซัวอ่วย) หมายถึง ภาษาพูดถิ่นแต้จิ๋ว-ซัวเถา เพื่อให้ครอบคลุมท้องถิ่นที่พูดภาษานี้ชัดเจนยิ่งขึ้น ในแวดวงวิชาภาษาศาสตร์และภาษาถิ่นจีนนิยมเรียกว่า เฉาซ่านฟางเอี๋ยน (เตี่ยซัวฮวงงั้ง) หมายถึงภาษาถิ่นแต้จิ๋ว อีกชื่อหนึ่งที่นิยมใช้เป็นภาษาหนังสือเรียกภาษาถิ่นนี้คือ เฉาอี่ว์ (เตี่ยงื่อ) หมายถึงภาษาของจีนแต้จิ๋วหรือภ...

บทที่ 3 ชื่อผักและผลไม้ในภาษาแต้จิ๋ว

รูปภาพ
บทที่ 3 ชื่อผักและผลไม้ในภาษาแต้จิ๋ว 1.ผลไม้      เรียกว่า อิ๊วจี่ 2.ส้ม       เรียกว่า กา 3.แตงโม    เรียกว่า ซีกวย 4.ชมพู่       เรียกว่า เจียมพุ 5.มะนาว    เรียกว่า ซึงกา 6.ส้มโอ      เรียกว่า อิ่ว 7.ลำไย      เรียกว่า เหล็กไอ้ 8.กล้วย      เรียกว่า เก็งเจีย 9.องุ่น      เรียกว่า ผู่ท้อ 10.แอปเปิ้ล    เรียกว่า เพ่งกล้วยล 11.สาลี่      เรียกว่า ซัวตังไล้ 12. ฝรั่ง      เรียกว่า ปักเกี้ย 13.คะน้า     เรียกว่า คะน้า 14.กวางตุ้ง    เรียกว่า กวังหู้ 14.พริก      เรียกว่า เฮียมเจีย 15.มะนาว     เรียกว่า ซึงกา 16.เห็ดหอม    เรียกว่า เฮียโกว 17.ผัก       เรียกว่า ฉ่าย 18. ผักกาดดองผัด เรียกว่า กานาฉ่าย 19.สับประรด  เรียกว่า อั่งไล้ ...

บทที่ 2 ชื่ออาหารในภาษาแต้จิ๋ว

รูปภาพ
บทที่ 2 ชื่ออาหารในภาษาแต้จิ๋ว 1.ข้าว       เรียกว่า ปิ่ง 2. มาม่า/หมี    เรียกว่า หมี่ 3.โจ๊ก       เรียกว่า โจ๊ก 4.ก๋วยเตี๋ยว    เรียกว่า ก๋วยเตี้ยว 5.เนื้อหมู      เรียกว่า ตือบะ 6. หมูสับ      เรียกว่า บ๊ะฉ่อ 7.ผัก       เรียกว่า ฉ่าย 8.ไข่       เรียกว่า หนึง 9.กุนเชียง    เรียกว่า ก้วงเชี้ยง 10.แกง       เรียกว่า แก่ง 11.พะโล้      เรียกว่า พะโล้ว 12.ขาหมู      เรียกว่า ตือคา 13.หมูแผ่น    เรียกว่า บ๊ะโป้ว 14.หมูหยอง    เรียกว่า บ๊ะย้ง 15.ลูกชิ้นหมู    เรียกว่า บ๊ะอี้ 16.ลูกชิ้นปลา   เรียกว่า หื่ออี้ 17.ลูกชิ้นกุ้ง    เรียกว่า แห่อี้ 18.ปลา       เรียกว่า ฮื้อ 19.กุ้ง           เรียกว่า แฮ้ 20.ปลาหมึก  ...
รูปภาพ
บทที่ 1   การนับลำดับญาติในภาษาจีนแต้จิ๋ว พ่อ           เรียกว่า แป๋ , ป่าป๋า แม่           เรียกว่า ไอซ์ , ม่าม้า ปู่/ตา         เรียกว่า อากง ปู่ชวด/ตาชวด     เรียกว่า อาเหล่ากง ย่าชวด/ยายชวด      เรียกว่า อาเหล่าม่า ย่า/ยาย         เรียกว่า อาม่า ลุง/ลุงเขย       เรียกว่า อาแป๊ะ ป้า/อาผู้หญิง     เรียกว่า อาโกว ป้าสะใภ้         เรียกว่า อากิ๋ม อาผู้ชาย/อาเขย     เรียกว่า อาเจ๊ก อาสะใภ้         เรียกว่า อาซิ้ม น้าผู้ชาย         เรียกว่า อากู๋ น้าผู้หญิง        เรียกว่า อาอี้ พี่ผู้ชาย      ...

สมาชิกในรายวิชา

รูปภาพ
นายชลัช  ประพฤทธิ์ภิญโญ ครูณรินทร  น้อยพิทักษ์   นายอภิวัฒน์  แซ่อึ๊ง  นายพงศธร  พุ่มอ่ำ  นายสหรัฐ  ทองคุ่ย  นายภาดล  ต้อยสิมมา  นายวิทยา  นนท์เหล่าพล  นายภากร  เผ่ามณี  นายสมชนก  มูลศรี  นายพานทองแท้  หินชัยภูมิ  นายวรานนท์  บุญเติม นายพรรณกร  ภานุมาศ นายภูมิรพี  ชรุวบุตร นายธนกิตต์  พริ้งรักษา นางสาวพรรพษา  จำนงค์สุข นางสาวณัฐณิชา  เถยสูงเนิน  นางสาวอธิติญา  แตงนวม นางสาวนรมน  รัตนศรี